วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556

งานที่ 4 ความรู้ที่ได้รับจากชั่วโมงเรียน 25 มิย. 56


ภาษา คือ ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อสารกัน

ลักษณะของภาษาไทย

1.  เป็นคำโดด
2. สะกดตรงตามมาตรา 8 มาตรา ใช้ตัวอักษรตามพยัญชนะ เช่น แม่กก - นก งก จก , แม่กง - งง ผง
3. มีเสียงวรรณยุกต์
4. คำ ๑ คำ มีความหมายได้หลายหน้าที่เป็นทั้งนาม,สรรพนาม,สันธาน เช่น  ขันเป็นคำนามที่ แปลว่า ภาชนะใช้ตักน้ำ ไก่ขันเป็นกริยา แปลว่า เสียงร้องของไก่
5. เรียงประโยค  แบบ S +V +O ประธาน+กริยา+กรรม 
เช่น ฉันกินข้าว 
*แต่ภาษาลีจะเรียงหรือกรรมอยู่หน้าแล้วประธานอยู่หลัง จึงทำให้คนไม่ค่อยเรียนภาษาบาลีเพราะยุ่งยาก
 
6.  มีลักษณะนาม เป็นคำที่ใช้บอกตามหลังลักษณะของสิ่งของ เช่น ลงเรียน 1 วิชา , สมุด 1 เล่ม
7.  มักไม่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต (  ์ ตัวการันต์)  เพื่อห้ามเสียงของคำ
8. มีวรรคตอน ถ้าแบ่งวรรคตอนผิด ความหมายของประโยคนั้นจะเปลี่ยนแปลงได้
 9.มีเรื่องของระดับภาษา มีอยู่ 5 ระดับ คือ

         -  ระดับพิธีการ - มีคำเฉพาะ
         -  ระดับทางการ - ใช้ในราบการ ระเบียบแบบแผน
         -  ระดับกึ่งทางการ - มีวิธีการบ้าง กันเองบ้าง แล้วแต่ความเหมาะสม
         -  ระดับสนทนา - ใช้พูดคุยกันทั่วไปกับคนที่ไม่สนิท
         -  ระดับกันเอง - พูดคุยกับคนที่คุ้นเคยกัน

และอื่นๆ นอกจากนี้คือ คำราชาศัพท์
- คำในภาษาไทยเกิดจาก คือ เสียงพยัญชนะ+สระ+วรรณยุกต์
- พยัญชนะไทยมี 44 รูป 21 เสียง

เสียงพยัญชนะไทย (๒๑เสียง)
รูปพยัญชนะไทย (๔๔ รูป)
๑.   
๒.   
            
๓.   
๔.   
๕.   
      
๖.   
         
๗.   
ด  ฎ
๘.   
ต  ฏ
๙.   
               
๑๐.  น
   
๑๑.  บ
๑๒.  ป
๑๓.  พ
      
๑๔.  ฟ
   
๑๕.  ม
๑๖.  ย
   
๑๗.  ร
๑๘.  ล
   
๑๙.  ว
๒๐.  ฮ
ห  ฮ
๒๑.  อ
 มีพยัญชนะต้นมี  5 ตัว  ก,ค,ป,พ,และ ต เช่น กวาด ควาย ตลาด
- สระมี 32 เสียง 21 รูป 
         อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว
       ฤ ฤา ฦ ฦา อำ ใอ ไอ เอา

-สระเกินมี 8 เสียง ได้แก่ -ำ,-ไ,-ใ,เ-า,ฤ,ฤา,ฦ,ฦา
-สระผสมมี 3 เสียง ไ้ด้แก่ เ-ียะ,เ-ือะ,-ัวะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น